PDFPrintE-mail


เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกายแบบไม่สัมผัส FT90
ดูภาพขยาย


เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกายแบบไม่สัมผัส FT90



สอบถามเกี่ยวกับสินค้า

เครื่องวัดอุณหภูมิร่างกายแบบไม่สัมผัส FT90 รหัส KP106

  • ผ่านการทดสอบใช้งานที่ Heart Center Lahr/Baden, มหาวิทยาลัย Steibeis ประเทศเยอรมัน
  • ไม่ต้องกังวลเรื่องการติดเชื้อจากการสัมผัส
  • วัดอุณหภูมิร่างกายโดยไม่ต้องสัมผัสกับร่างกาย (34 – 42.2°C)
  • เตือนด้วยภาพและเสียงเมื่ออุณหภูมิที่วัดได้เกินกว่า 38°C (เป็นไข้)
  • ระยะเวลาในการวัดแต่ละครั้งประมาณ 2-30 วินาที (ขึ้นอยู่กับพื้นที่ในการสแกน)
  • วัดอุณหภูมิวัตถุและอุณหภูมิห้องได้ (ช่วง -22 ถึง 80 °C)(กดปุ่ม MODE เพื่อเปลี่ยนโหมดการวัด) ระยะวัดห่าง 2-3 cm.จากวัตถุ
  • วัดได้ทั้งหน่วย °C และ °F
  • บันทึกค่าเฉพาะอุณหภูมิร่างกายที่วัดได้ 60 ค่า (ไม่บันทึกอุณหภูมิวัตถุ)
  • ปิดเองเมื่อไม่ได้ใช้ (ภายใน 1 นาที) พร้อมเตือน Battery อ่อน
  • ความแม่นยา เมื่อวัดอุณหภูมิร่างกาย : ± 0.2 °C ; เมื่อวัดอุณหภูมิวัตถุ : ± 2 °C
  • ใช้ Battery AAA จานวน 2 ก้อน (วัดได้ประมาณ 3,000 ครั้ง)

สินค้ารับประกันคุณภาพพร้อมบริการส่ง หากสินค้าเกิดปัญหาภายใน 7 วันยินดีเปลี่ยนให้ใหม่


สินค้าพร้อมจำหน่าย

จัดส่งภายใน:

2-3d.gif




DBD Registation

รายการสินค้าทั้งหมด

(เชียงใหม่อุปกรณ์การแพทย์) อุปกรณ์การแพทย์, อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วย จัดส่งถึงบ้านคุณ

บทความสาระดีๆ

Joomla Templates and Joomla Extensions by ZooTemplate.Com

    Statistics

    • สมาชิก : 1
    • Content : 36
    • จำนวนครั้งเปิดดูบทความ : 729152

    จัดส่งโดย

     

    วัสดุและอุปกรณ์การแพทย์ในประเทศไทย ปัจจุบันประเทศไทยมีการใช้วัสดุการแพทย์และอุปกรณ์การแพทย์ต่างๆ เพื่อรักษาผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก แต่วัสดุและอุปกรณ์การแพทย์ที่สามารถผลิตได้ ในประเทศจัด เป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ใช้เทคโนโลยีระดับต่ำถึงระดับกลาง คือ อ่านต่อ

    ความเป็นมา เดิมก่อนที่ประเทศไทยจะมีกฎหมายควบคุมเกี่ยวกับเครื่องมือแพทย์โดยตรงนั้น เมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้ในทางการแพทย์เกิดขึ้น กระทรวงสาธารณสุขมักจะแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น อ่านต่อ

    แผลกดทับเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหว ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เอง ผิวหนังถูกกดทับเป็นเวลานานอย่างต่อเนื่อง ทำให้เลือดไม่สามารถไหลเวียนไปเลี้ยงผิวหนังที่ถูกกดทับได้อย่างสะดวก ส่งผลให้ผิวหนัง อ่านต่อ

    ผู้ป่วยอัมพาตที่รับตัวไว้ในโรงพยาบาลหลังจากอาการของโรคคงที่ แพทย์จะให้กลับบ้าน ดังนั้นญาติผู้ป่วยและแพทย์ควรปรึกษากันว่าจะดูแลผู้ป่วยหลังออกจากโรง พยาบาลอย่างไร ที่จะนำเสนอเป็นเพียงหัวข้อตัวอย่าง การวางแผนควรกระทำตั้งแต่วันแรกที่นอนโรงพยาบาล ดังนี้ อ่านต่อ