PDFPrintE-mail


เครื่องวัดความดันโลหิตแบบแขนสอด
ดูภาพขยาย


เครื่องวัดความดันโลหิตแบบแขนสอด



สอบถามเกี่ยวกับสินค้า

เครื่องวัดความดันโลหิตแบบแขนสอด รุ่น WIRLESS DISPLAY (MODEL : EW-3153) รหัส KP035
คุณสมบัติพิเศษ

  • บันทึกค่าความดันโลหิตได้ 2 คนๆละ 90 หน่วยความจำ
  • จอแสดงผลแบบ Wireless Digital LCD สามารถวางได้ไกลจากตัวเครื่อง 60 เซนติเมตร
  • จอแสดงผลขนาดใหญ่ เห็นได้ชัดเจน อ่านค่าได้ง่าย
  • ทำงานด้วยระบบ ออสซิโลเมทริกซ์
  • แสดงผลค่าความดันต่ำสุด สูงสุด และอัตราการเต้นของชีพจร
  • ไฟสัญลักษณ์ 3 สี (ส้ม เหลือง เขียว) แสดงระดับค่าความดันโลหิตของผู้ใช้ โดยเปรียบเทียบกับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด
  • เข้าใจได้ง่ายมีสัญลักษณ์แสดงชีพจรที่เต้นผิดปกติมีสัญลักษณ์แสดงเตือน เมื่อเคลื่อนไหวร่างกายขณะวัดค่า
  •  เก็บข้อมูลค่าความดันโลหิตอัตโนมัติ พร้อมแสดงวันที่ และเวลา
  • ค่าความแม่นยำ ความดันโลหิต +/-3 มิลลิเมตรปรอท
  • ค่าความแม่นยำอัตราการเต้นของหัวใจ +/-5%
  • เส้นรอบวงแขนที่สามารถวัดได้ 20–34 ซม.
  • ตัวเครื่องใช้ Adapter DC หรือใช้แบตเตอรี่อัลคาไลน์ขนาด AA 4 ก้อน
  • หน้าจอแสดงผลใช้แบตเตอรี่ อัลคาไลน์ขนาด AA 2 ก้อน
  • ขนาดตัวเครื่อง  28.3 x 16.9 x 28.1 ซ.ม. (กว้างxยาวxสูง)  น้ำหนัก 1,550 กรัม
  • ขนาดหน้าจอแสดงผล  14.6 x 8.4 x 6.8 ซ.ม. (กว้างxยาวxสูง) น้ำหนัก 160 กรัม

 
รับประกัน 1 ปี


สินค้าพร้อมจำหน่าย

จัดส่งภายใน:

2-3d.gif




DBD Registation

รายการสินค้าทั้งหมด

(เชียงใหม่อุปกรณ์การแพทย์) อุปกรณ์การแพทย์, อุปกรณ์สำหรับผู้ป่วย จัดส่งถึงบ้านคุณ

บทความสาระดีๆ

Joomla Templates and Joomla Extensions by ZooTemplate.Com

    Statistics

    • สมาชิก : 1
    • Content : 36
    • จำนวนครั้งเปิดดูบทความ : 729132

    จัดส่งโดย

     

    วัสดุและอุปกรณ์การแพทย์ในประเทศไทย ปัจจุบันประเทศไทยมีการใช้วัสดุการแพทย์และอุปกรณ์การแพทย์ต่างๆ เพื่อรักษาผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก แต่วัสดุและอุปกรณ์การแพทย์ที่สามารถผลิตได้ ในประเทศจัด เป็นกลุ่มผลิตภัณฑ์ที่ใช้เทคโนโลยีระดับต่ำถึงระดับกลาง คือ อ่านต่อ

    ความเป็นมา เดิมก่อนที่ประเทศไทยจะมีกฎหมายควบคุมเกี่ยวกับเครื่องมือแพทย์โดยตรงนั้น เมื่อมีปัญหาเกี่ยวกับเครื่องมือ เครื่องใช้ ผลิตภัณฑ์ หรืออุปกรณ์ที่ใช้ในทางการแพทย์เกิดขึ้น กระทรวงสาธารณสุขมักจะแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น อ่านต่อ

    แผลกดทับเป็นภาวะที่พบได้บ่อยในผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องการเคลื่อนไหว ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้เอง ผิวหนังถูกกดทับเป็นเวลานานอย่างต่อเนื่อง ทำให้เลือดไม่สามารถไหลเวียนไปเลี้ยงผิวหนังที่ถูกกดทับได้อย่างสะดวก ส่งผลให้ผิวหนัง อ่านต่อ

    ผู้ป่วยอัมพาตที่รับตัวไว้ในโรงพยาบาลหลังจากอาการของโรคคงที่ แพทย์จะให้กลับบ้าน ดังนั้นญาติผู้ป่วยและแพทย์ควรปรึกษากันว่าจะดูแลผู้ป่วยหลังออกจากโรง พยาบาลอย่างไร ที่จะนำเสนอเป็นเพียงหัวข้อตัวอย่าง การวางแผนควรกระทำตั้งแต่วันแรกที่นอนโรงพยาบาล ดังนี้ อ่านต่อ